ความดันโลหิต หรือ ความดันเลือด หมายถึง แรงดันของกระแสเลือดที่กระทบต่อผนังหลอดเลือด ซึ่งเกิดจากการสูบฉีดของหัวใจ (คล้ายแรงลมที่ดันผนังยางรถเวลาสูบลมเข้า) ซึ่งสามารถวัดโดยใช้ เครื่องวัดความดัน เครื่องวัดความดัน (Sphygmomano meter) ความดันในหลอดเลือดเมื่อหัวใจบีบตัวสูบฉีดเลือดเข้าสู่หลอดเลือด ซึ่งเรียกว่า ความดันโลหิต ซีสโตลิค (Systolic blood pressure) และเมื่อหัวใจพักคลายตัว ซึ่งเรียกว่า ความดันโลหิตไดแอสโตลิค (Diastolic blood pressure) ดังนั้น การรายงานผลความดันโลหิต จึงประกอบด้วยตัวเลข 2 ตัวเสมอ โดยจะบันทึกความดันซีสโตลิกเป็นตัวแรก หรือ ตัวบน ส่วนความดันไดแอสโตลิก จะบันทึกเป็นตัวตาม หรือ ตัวล่าง เช่น วัดความดันโลหิตได้ 120/80 หมายความว่า ความดันซีสโตลิค คือ 120 ส่วนความดันไดแอสโตลิค คือ 80
ความดันโลหิตในผู้มีแนวโน้มจะเป็นโรคความดันโลหิตสูง คือ 120-139/80-89 มม.ปรอท
โรคความดันโลหิตสูงระยะ 1 คือ ความดันโลหิตอยู่ในช่วง 140-159/90-99 มม.ปรอท
โรคความดันโลหิตสูงระยะ 2 คือ ความดันโลหิตอยู่ในช่วง ตั้งแต่ 160/100 มม.ปรอทขึ้นไป
โรคความดันโลหิตสูงที่ต้องพบแพทย์ใน 24 ชั่วโมง คือ ความดันโลหิตสูง ตั้งแต่ 180/110 มม.ปรอทเป็นต้นไป เพราะอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ อาจจากโรคหัวใจ สมอง และ/หรือ ไต ล้มเหลว
โรคความดันโลหิตสูงที่ต้องพบแพทย์ฉุกเฉิน คือ ความดันโลหิตสูงตั้งแต่ 220/140 มม.ปรอทขึ้นไป เพราะเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ จากการทำงานล้มเหลวของอวัยวะต่างๆ เช่น หัวใจ สมอง และไต
อนึ่ง ความดันโลหิตสูง วินิจฉัยจากความดันโลหิตตัวใดตัวหนึ่ง หรือทั้งสองตัวขึ้นสูงกว่าปกติ ทั้งนี้เมื่อวัดความดันฯผิดปกติ ให้วัดซ้ำอีกครั้ง ห่างกันประมาณ 5 นาทีหลังพักประมาณ 5-10 นาที ถ้าค่าการวัดยังผิดปกติ จึงจะถือว่าความดันฯ ผิดปกติจริง
ความต้านทานของหลอดเลือดขึ้นอยู่กับ ขนาดของหลอดเลือดฝอย ถ้าหลอดเลือดแดงรอง (arteries, arterioles)รอบ ๆ หลอดเลือดฝอยหดรัดตัวหลอดเลือดฝอยมีขนาดเล็กลง, ความต้านทานของหลอดเลือดจะเพิ่มขึ้นทำให้ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น
2. Cardiac output (จำนวนเลือดที่ออกจากหัวใจ)
เป็นจำนวนที่ถูกฉีดออกจากหัวใจ ใน 1 นาที
CO = HR x SV
หัวใจห้องล่างซ้ายพักหรือคลายตัว จะมีเลือดผ่านออกประมาณ 70 ml, ใน 1 นาที จะบีบตัวประมาณ 70 ครั้ง จึงทำให้มีเลือดออกจากหัวใจนาทีละ CO = 70 x 70 = 4,900 ml หรือ 5 ลิตร/นาที
BP = CO x R
เมื่อ CO เพิ่มขึ้น BP เพิ่มขึ้น, ถ้า CO ลดลง จำนวนเลือดที่ถูกฉีดออกมาจากหัวใจน้อย ทำให้ BP ต่ำลง
3. blood volume (ปริมาณเลือด) ปริมาณเลือด ในระบบการไหลเวียนของเลือด
ค่า Hct ต่ำ เลือดจะมีความหนืดน้อย หัวใจใช้แรงน้อยในการสูบฉีดเลือดที่มีความหนืดผ่านไปยังหลอดเลือดฝอย ทำให้ BP ต่ำลง
5. ความยืดหยุ่นของผนังหลอดเลือดแดง (elasticity of vessel walls) ความสามารถของหลอดเลือดแดงในการยืดและหดตัว
ความดันโลหิตลดลงต่ำกว่าปกติ สัมพันธ์กับอาการอ่อนเพลีย หน้ามืด, วิงเวียนเป็นลม (faint) เมื่อลุกขึ้นยืน การเปลี่ยนจากท่านอนเป็นท่ายืนทันที มีผลทำให้ความดันโลหิตลดต่ำลงทันที เกิดจากหลอดเลือดส่วนปลายขยาย แต่ไม่มีกลไกการปรับตัวเพิ่มขึ้นของจำนวนเลือดที่ออกจากหัวใจ ควรแนะนำการเปลี่ยนท่าช้าๆ
- sphygmomanometer เครื่องวัดความดัน มี 2 แบบ
Doppler ultrasound
electronic blood pressure meters
เสียงที่ได้ยิน korotkoff sounds
- ความดันช่วงบน หรือความดันซิสโตลี (Systolic blood pressure) หมายถึง แรงดันเลือดขณะที่หัวใจบีบตัว ซึ่งอาจจะ สูงตามอายุ ความดันช่วงบนในคน ๆ เดียวกันอาจมีค่าแตกต่างกันบ้างเล็กน้อย ตามท่าของร่างกาย การเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ และปริมาณของการออกกำลัง
- ความดันช่วงล่าง หรือความดันไดแอสโตลี (Diastolic blood pressure ) หมายถึง แรงดันเลือดขณะที่หัวใจคลายตัว ในปัจจุบัน ได้มีการกำหนดค่าความดันโลหิต และระดับความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูง สำหรับผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป (โดยการวัดในท่านั่ง วัดอย่างน้อย 2 ครั้งขึ้นไป แล้วคิดเป็นค่าเฉลี่ย)

การวัดความดันโลหิต
โดยทั่วไป วัดที่แขน วัดได้ทั้งแขนซ้าย หรือ แขนขวา ซึ่งให้ค่าความดันโลหิตได้เท่ากัน ยกเว้น เมื่อมีโรคของหลอดเลือดแขน ตีบ (พบได้น้อยมากๆ) ทั้งนี้การวัดความดันฯวัดได้ทั้งในท่านอนหงาย หรือ ท่านั่ง และควรพักอย่างน้อย 5-10 นาทีก่อนวัดความดัน เพราะการออกแรงจะส่งผลให้ความดันโลหิตสูงขึ้น
ในภาวะทั่วไป ที่ไม่ใช่โรคความดันโลหิตสูง แต่สามารถส่งผลให้ความดันฯสูงขึ้นได้ ที่พบบ่อย คือ การออกกำลังกาย การเคลื่อนไหว อาการไข้ ยาบางชนิด เช่น ยาไทรอยด์ฮอร์โมน อารมณ์/จิตใจ (เครียด โกรธ กังวล) กินอาหารเค็ม นอกจากนั้น คือ ช่วงกลางวันความดันฯจะสูงกว่าช่วงนอนพักและช่วงกลางคืน และผู้ใหญ่ ความดันฯจะสูงกว่าเด็ก
ความดันโลหิต จัดเป็น หนึ่งในสัญญาณชีพที่สำคัญ (ความดันโลหิต อัตราการหายใจ ชีพจร และอุณหภูมิของร่างกาย) ซึ่งสามารถบอกถึงสุขภาพ และโรคต่างๆได้ โดยเฉพาะเป็นความสำคัญเบื้องต้นที่บอกถึงโรคความดันโลหิตสูง การทำงานของหัวใจ และ โรคหัวใจ
2. เพศ ตั้งแต่วัยรุ่น เพศหญิงจะมีความดันโลหิตต่ำกว่าเพศชาย ในช่วงอายุเดียวกัน เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน หลังวัยหมดประจำเดือน (Menopause) เพศหญิงโดยทั่วไปจะมีความดันโลหิตสูงกว่าก่อนและสูงกว่าเพศชาย
3. ความเครียด อารมณ์ความเครียด, ความกังวล, ความกลัว, ความเจ็บปวด จะไปกระตุ้นระบบประสาท ซิมพาธิติก ทำให้เพิ่ม cardiac output และ vasoconstriction ของหลอดเลือด ส่งผลให้ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น แต่อาการเจ็บปวดอย่างรุนแรงก็อาจทำให้ความดันโลหิตลดลงได้
4. ยา ยาบางชนิดมีผลต่อความดันโลหิต ยาที่มีผลต่อการหดรัดตัวของหลอดเลือดจะทำให้ BP สูงขึ้น ยาที่ขยายหลอดเลือดจะทำให้ความดันโลหิตต่ำ
5. ช่วงเวลาแต่ละวัน ช่วงเช้าความดันโลหิตอาจลดลง เนื่องจากอัตราการเผาผลาญภายในเซลล์ (Metabolic rate) ลดลง และเพิ่มขึ้นตลอดวันจนสูงสุดช่วงบ่ายหรือตอนเย็น และต่ำลงในตอนกลางคืน
6. การออกกำลังกาย เป็นการเพิ่มจำนวนเลือดซึ่งถูกฉีดออกจากหัวใจ (cardiac output) ทำให้ความดันโลหิตสูงขึ้น ดังนั้นต้องให้ผู้ป่วยพัก 20-30 นาทีหลังจากออกกำลังกายมา
7. ความอ้วน คนอ้วนความดันโลหิตสูงกว่าคนผอม
8. ท่าทาง ความดันโลหิตที่วัดในท่ายืนจะสูงสุด รองลงมาคือ ท่านั่ง และท่านอน ตามลำดับ เนื่องจากเลือดไหลเวียนได้สะดวกในท่ายืนนอกจากนั้น
ในภาวะทั่วไป ที่ไม่ใช่โรคความดันโลหิตสูง แต่สามารถส่งผลให้ความดันฯสูงขึ้นได้ ที่พบบ่อย คือ การออกกำลังกาย การเคลื่อนไหว อาการไข้ ยาบางชนิด เช่น ยาไทรอยด์ฮอร์โมน อารมณ์/จิตใจ (เครียด โกรธ กังวล) กินอาหารเค็ม นอกจากนั้น คือ ช่วงกลางวันความดันฯจะสูงกว่าช่วงนอนพักและช่วงกลางคืน และผู้ใหญ่ ความดันฯจะสูงกว่าเด็ก
ความดันโลหิต จัดเป็น หนึ่งในสัญญาณชีพที่สำคัญ (ความดันโลหิต อัตราการหายใจ ชีพจร และอุณหภูมิของร่างกาย) ซึ่งสามารถบอกถึงสุขภาพ และโรคต่างๆได้ โดยเฉพาะเป็นความสำคัญเบื้องต้นที่บอกถึงโรคความดันโลหิตสูง การทำงานของหัวใจ และ โรคหัวใจ
Photo by The Nok
ปัจจัยที่มีผลต่อความดันโลหิต
1. อายุ ทารกแรกเกิดจะมีความดันซิสตอลลิด เฉลี่ย 78 mm .Hg ความดันโลหิตเพิ่มขึ้นตามอายุ และเริ่มสูงจนปกติในวัยผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่ความดันโลหิตเฉลี่ย 120/80mm.Hg ผู้สูงอายุความดันโลหิตจะสูงขึ้น เนื่องจากความยืดหยุ่นของหลอดเลือดลดลง2. เพศ ตั้งแต่วัยรุ่น เพศหญิงจะมีความดันโลหิตต่ำกว่าเพศชาย ในช่วงอายุเดียวกัน เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน หลังวัยหมดประจำเดือน (Menopause) เพศหญิงโดยทั่วไปจะมีความดันโลหิตสูงกว่าก่อนและสูงกว่าเพศชาย
3. ความเครียด อารมณ์ความเครียด, ความกังวล, ความกลัว, ความเจ็บปวด จะไปกระตุ้นระบบประสาท ซิมพาธิติก ทำให้เพิ่ม cardiac output และ vasoconstriction ของหลอดเลือด ส่งผลให้ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น แต่อาการเจ็บปวดอย่างรุนแรงก็อาจทำให้ความดันโลหิตลดลงได้
4. ยา ยาบางชนิดมีผลต่อความดันโลหิต ยาที่มีผลต่อการหดรัดตัวของหลอดเลือดจะทำให้ BP สูงขึ้น ยาที่ขยายหลอดเลือดจะทำให้ความดันโลหิตต่ำ
5. ช่วงเวลาแต่ละวัน ช่วงเช้าความดันโลหิตอาจลดลง เนื่องจากอัตราการเผาผลาญภายในเซลล์ (Metabolic rate) ลดลง และเพิ่มขึ้นตลอดวันจนสูงสุดช่วงบ่ายหรือตอนเย็น และต่ำลงในตอนกลางคืน
6. การออกกำลังกาย เป็นการเพิ่มจำนวนเลือดซึ่งถูกฉีดออกจากหัวใจ (cardiac output) ทำให้ความดันโลหิตสูงขึ้น ดังนั้นต้องให้ผู้ป่วยพัก 20-30 นาทีหลังจากออกกำลังกายมา
7. ความอ้วน คนอ้วนความดันโลหิตสูงกว่าคนผอม
8. ท่าทาง ความดันโลหิตที่วัดในท่ายืนจะสูงสุด รองลงมาคือ ท่านั่ง และท่านอน ตามลำดับ เนื่องจากเลือดไหลเวียนได้สะดวกในท่ายืนนอกจากนั้น
ทุกๆคนที่เป็นผู้ใหญ่แล้ว อาจเริ่มได้ตั้งแต่อายุ 18 หรือ 20 ปี ควรตรวจสุขภาพวัดความดันโลหิตอย่างน้อยปีละครั้ง เพื่อคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และเมื่อพบเริ่มมีแนวโน้มที่จะมีความดันโลหิตสูง แพทย์ พยาบาลจะได้แนะนำการดูแลตนเอง หรือวินิจฉัยหาสาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เพื่อการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเพื่อรักษาควบคุมโรคที่เป็นสาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยงต่างๆเหล่านั้นแต่เนิ่นๆ เพื่อผลการรักษาควบคุมโรคได้ดีกว่าเมื่อตรวจพบหลังจากมีอาการผิดปกติแล้ว
ระดับความดันโลหิต
ความดันโลหิตปกติ คือ 90-119/60-79 มม.ปรอทความดันโลหิตในผู้มีแนวโน้มจะเป็นโรคความดันโลหิตสูง คือ 120-139/80-89 มม.ปรอท
โรคความดันโลหิตสูงระยะ 1 คือ ความดันโลหิตอยู่ในช่วง 140-159/90-99 มม.ปรอท
โรคความดันโลหิตสูงระยะ 2 คือ ความดันโลหิตอยู่ในช่วง ตั้งแต่ 160/100 มม.ปรอทขึ้นไป
โรคความดันโลหิตสูงที่ต้องพบแพทย์ใน 24 ชั่วโมง คือ ความดันโลหิตสูง ตั้งแต่ 180/110 มม.ปรอทเป็นต้นไป เพราะอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ อาจจากโรคหัวใจ สมอง และ/หรือ ไต ล้มเหลว
โรคความดันโลหิตสูงที่ต้องพบแพทย์ฉุกเฉิน คือ ความดันโลหิตสูงตั้งแต่ 220/140 มม.ปรอทขึ้นไป เพราะเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ จากการทำงานล้มเหลวของอวัยวะต่างๆ เช่น หัวใจ สมอง และไต
อนึ่ง ความดันโลหิตสูง วินิจฉัยจากความดันโลหิตตัวใดตัวหนึ่ง หรือทั้งสองตัวขึ้นสูงกว่าปกติ ทั้งนี้เมื่อวัดความดันฯผิดปกติ ให้วัดซ้ำอีกครั้ง ห่างกันประมาณ 5 นาทีหลังพักประมาณ 5-10 นาที ถ้าค่าการวัดยังผิดปกติ จึงจะถือว่าความดันฯ ผิดปกติจริง
กลไกการควบคุมความดันโลหิต
1. Peripheral resistance ความต้านทานของหลอดเลือดความต้านทานของหลอดเลือดขึ้นอยู่กับ ขนาดของหลอดเลือดฝอย ถ้าหลอดเลือดแดงรอง (arteries, arterioles)รอบ ๆ หลอดเลือดฝอยหดรัดตัวหลอดเลือดฝอยมีขนาดเล็กลง, ความต้านทานของหลอดเลือดจะเพิ่มขึ้นทำให้ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น
2. Cardiac output (จำนวนเลือดที่ออกจากหัวใจ)
เป็นจำนวนที่ถูกฉีดออกจากหัวใจ ใน 1 นาที
CO = HR x SV
หัวใจห้องล่างซ้ายพักหรือคลายตัว จะมีเลือดผ่านออกประมาณ 70 ml, ใน 1 นาที จะบีบตัวประมาณ 70 ครั้ง จึงทำให้มีเลือดออกจากหัวใจนาทีละ CO = 70 x 70 = 4,900 ml หรือ 5 ลิตร/นาที
BP = CO x R
เมื่อ CO เพิ่มขึ้น BP เพิ่มขึ้น, ถ้า CO ลดลง จำนวนเลือดที่ถูกฉีดออกมาจากหัวใจน้อย ทำให้ BP ต่ำลง
3. blood volume (ปริมาณเลือด) ปริมาณเลือด ในระบบการไหลเวียนของเลือด
- ปริมาณเลือดเพิ่มขึ้น เช่น การให้เลือดทดแทนอย่างรวดเร็วทำให้ BPสูงขึ้น (เนื่องจากมีแรงดันเลือดมากขึ้นไปกระทบผนังหลอดเลือด)
- ปริมาณเลือดลดลง เช่น ภาวะตกเลือดหรือภาวะขาดน้ำทำให้ BP ลดลง
ค่า Hct ต่ำ เลือดจะมีความหนืดน้อย หัวใจใช้แรงน้อยในการสูบฉีดเลือดที่มีความหนืดผ่านไปยังหลอดเลือดฝอย ทำให้ BP ต่ำลง
5. ความยืดหยุ่นของผนังหลอดเลือดแดง (elasticity of vessel walls) ความสามารถของหลอดเลือดแดงในการยืดและหดตัว
- เมื่อความยืดหยุ่นของหลอดเลือดลดลงจะทำให้หลอดเลือดแข็ง ความต้านการไหลเวียนเลือดจะเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ BP เพิ่มขึ้น
- เมื่อความยืดหยุ่นหลอดเลือดเพิ่มขึ้น ความต้านทานการไหลเวียนเลือดจะลดลง ทำให้ BP ลดลง
- ความดันโลหิตสูง (Hypertension) – ความดันสูงกว่าปกติ systolic สูงกว่า 140 mm .Hg, diastolic สูงกว่า 90 mm.Hg. อาจมีอาการ ปวดศีรษะ บริเวณท้ายทอย ตาพร่า หรือมองไม่เห็น คลื่นไส้ อาเจียน ชักและหมดสติในที่สุด
- ความดันโลหิตต่ำ (Hypotension) ความดันลดต่ำลงกว่าปกติ systolic ต่ำกว่า 90 mm .Hg, diastolic ต่ำกว่า60 mm.Hg อาการ อ่อนเพลีย ไม่มีแรง เหนื่อยง่ายกว่าปกติ หน้าซีด เหงื่อออก ตัวเย็น เป็นลมหมดสติ

ความดันโลหิตลดลงต่ำกว่าปกติ สัมพันธ์กับอาการอ่อนเพลีย หน้ามืด, วิงเวียนเป็นลม (faint) เมื่อลุกขึ้นยืน การเปลี่ยนจากท่านอนเป็นท่ายืนทันที มีผลทำให้ความดันโลหิตลดต่ำลงทันที เกิดจากหลอดเลือดส่วนปลายขยาย แต่ไม่มีกลไกการปรับตัวเพิ่มขึ้นของจำนวนเลือดที่ออกจากหัวใจ ควรแนะนำการเปลี่ยนท่าช้าๆ
วิธีวัดความดัน
- วัดโดยตรง directly (invasive) การใส่สายสวนเล็ก ๆ เข้าไปในหลอดเลือดแดง
- วัดโดยอ้อม indirectly (non-invasive)
- การฟัง
- อุปกรณ์เครื่องใช้
- sphygmomanometer เครื่องวัดความดัน มี 2 แบบ
- เครื่องมือวัด BP แบบใช้ปรอท
- เครื่องมือวัด BP แบบที่ไม่ใช้ปรอท นิยมใช้มีหน้าปัดบอกจำนวน
- Brachial
- Popliteal
Doppler ultrasound
electronic blood pressure meters
เสียงที่ได้ยิน korotkoff sounds
- เสียงที่ได้ยินครั้งแรกเรียกว่า ความดัน systolic (จุดที่หัวใจห้องล่างด้านซ้ายหดรัดตัวฉีดเลือด)
- เสียงที่เงียบหายไป เป็นจุดแสดงความดัน diastolic (ความดันในหลอดเลือดแดงในขณะที่หัวใจห้องล่างด้านซ้ายพัก)
ข้อผิดพลาดในการวัดความดันโลหิต
สาเหตุ
|
ค่าที่อ่านได้
|
1. cuff มีขนาดกว้าง 2. cuff มีขนาดแคบ 3. พัน cuff หลวม 4. ปล่อยลมออกจาก cuff ช้าไป 5. ปล่อยลมออกจาก cuff เร็วไป | BP ต่ำ BP สูง BP สูง Diastolic สูง Systolic ต่ำ / Diastolic สูง |